ขายของออนไลน์ระวัง !
ผู้ค้าออนไลน์ รับมือ พ.ร.บ.เก็บภาษีผู้ค้าออนไลน์
เงื่อนไขการประเมินจ่าย “ภาษีผู้ค้าออนไลน์”
-
ฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชี ตั้งแต่ 3,000 ครั้งต่อปี ไม่ว่าจะรับครั้งละกี่บาทก็ตาม ถ้าถึง 3,000 ครั้งถือว่าเข้าข่าย
-
ฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 400 ครั้ง และมียอดเงินรวมกันตั้งแต่ 2,000,000 บาทขึ้นไปต่อปี ซึ่งต้องเข้าเงื่อนไขทั้งจำนวนครั้ง และจำนวนมูลค่าของเงินที่รับฝากหรือโอน
โดยสถาบันการเงินและผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์จะส่งบัญชีที่มีธุรกรรมตามเงื่อนไขข้างต้นของแต่ละธนาคารนั้นๆ ตลอดปีให้กับกรมสรรพากร (ไม่ได้รวมทุกธนาคาร)
มาจดทะเบียนบริษัท เพื่อขายสินค้าออนไลน์ กันดีกว่า คุ้มกว่า
ขายสินค้าออนไลน์ จำเป็นต้องจดทะเบียนบริษัท หรือจดเป็นนิติบุคคล หรือไม่
หลายคนคงจะมีคำถามประมาณนี้ วันนี้เราจะอธิบายและยกตัวอย่างเปรียบเทียบ ข้อดีข้อเสียของการจดทะเบียนนิติบุคคล
ส่วนคำถามที่ว่า ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือเปล่า ตอบตรงนี้เลยครับ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000 บาท/ปี
จะต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ส่วนภาษีของธุรกิจขายของออนไลน์ จะมีวิธีคิดดังนี้ดังนี้
- ภาษีเงินได้ สำหรับบุคคลธรรมดา ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยจะคำนวณจากเงินได้สุทธิ แต่ถ้า จดทะเบียนบริษัท ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่คำนวณจากกำไรสุทธิแทน
***กรณีเงินได้ของคุณ ไม่เกิน 150,000 บาท/ปี ก็ยังไม่ต้องเสียภาษี แต่ต้องยื่นแบบแสดงภาษีไว้ก่อนครับ ส่วนการขายสินค้าออนไลน์นอกประเทศ เมื่อมีการโอนเงินเข้าบัญชีเรา ก็ถือว่าเป็นเงินได้ของเรา ต้องเสียภาษีเงินได้ตามปกติครับ
ส่วนคำถามที่ว่าขายของออนไลน์เล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นต้องจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หรือไม่
แต่จริง ๆ การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเรื่องจำเป็นสำหรับการขายของออนไลน์ เพราะหากเราละเลยหรือลืมจด
ถือว่ามีความผิดตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ต้องจ่ายค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท และมีค่าปรับรายวันอีกวันละไม่เกิน 100 บาท
ขายสินค้าออนไลน์ควรจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลหรือไม่?
ปกติเจ้าของร้านออนไลน์ที่ไม่ได้ จดทะเบียนบริษัท ขายของในนามบุคคลธรรมดาไปได้เรื่อย ๆ ไม่ต้องจัดทำงบการเงิน การยื่นภาษีก็ไม่ต้องใช้เอกสารยุ่งยาก
เรียกว่ามีความคล่องตัวมากกว่าการเป็นนิติบุคคล แต่หากขายดี มียอดขายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็จะเริ่มมีข้อจำกัดต่าง ๆ ตามมา
เช่น เริ่มเสียภาษีในฐานที่สูงขึ้น เพราะบุคคลธรรมดาใช้อัตราภาษีแบบก้าวหน้าอยู่ที่ 5-35% โดยจะคำนวณจากรายได้ทั้งหมด ในขณะที่นิติบุคคลมีอัตราภาษีสูงสุดอยู่ที่ 20%
และคำนวณจากกำไรสุทธิ หรือข้อจำกัดด้านความน่าเชื่อถือในการสั่งซื้อสินค้าครั้งละมาก ๆ หรือต้องมีการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ
การจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลนั้นสามารถลดข้อจำกัดเหล่านี้ได้ เมื่อต้องการขยายกิจการให้โตขึ้น การศึกษาเรื่องการจัดตั้งนิติบุคคลจึงถือเป็นเรื่องสำคัญ
บัญชี เป็นเรื่องสำคัญ!
เพราะการทำบัญชีเป็นหัวใจหลักของการดำเนินธุรกิจ ไม่ว่าธุรกิจของคุณจะเป็นประเภทไหน คุณต้องให้ความสำคัญในเรื่องบัญชี
เพราะบัญชีของเราจะแสดงทุกอย่าง ไม่ว่าราคาสินค้า ต้นทุนต่าง ผลประกอบการต่างๆ ทำให้เราสามารถวางแผนธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จดทะเบียนบริษัทขายสินค้าออนไลน์
ทุกวันนี้ ร้านค้าออนไลน์ มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เช่นทางเว็บไซต์ตัวเอง เว็บไซต์ e-commerce และล่าสุดคือทาง Social Network อย่าง facebook และ Instagram หลากหลายช่องทาง ซึ่งเป็นช่องทางที่นิยมอย่างมาก แต่ปัญหาคือ การหลอกลวงก็มีเยอะ ทำให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ออกมาคุมเข้มร้านค้าออนไลน์ โดยให้ร้านค้าแจ้งให้ไปจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อย่างถูกกฏหมาย ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ประกอบธุรกิจ ซึ่งเรื่องนี้หลายท่านอาจจะยังไม่ทราบ
สถิติตัวเลขผู้ขายออนไลน์จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า พบว่า มีผู้ขายออนไลน์ในไทยสูงถึง 1 ล้าน 5 พันราย แต่ ตัวเลขการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีเพียงแค่ 13,000 รายเท่านั้น
“สำหรับผู้ขายออนไลน์ ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียน ทั้งคนที่มีเวปไซต์เปิดเป็นร้านค้าของตัวเอง รวมถึงคนที่เปิดร้านขายเป็นจริงเป็นจัง รวมถึงร้านขายบน Social Network เช่น facebook, Instagram ต้องไปจดทะเบียนพาณิชย์ และนำเลขทะเบียนแสดงบนหน้าร้านค้าออนไลน์ด้วย”
กรณีของประชาชนเป็นการขายสินค้าทางออนไลน์เท่านั้น จะต้องดำเนินการจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting) บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)
เอกสารที่ใช้จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ประกอบพาณิชยกิจ
- แบบคำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.)
- รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ แบบ ทพ.) กรอก 1 ใบ ต่อ 1 เว็บไซต์
- เอกสารการจดโดเมนเนม (กรณีที่มีเว็บไซต์ และชื่อผู้จดทะเบียนโดเมนเนม ต้องเป็นชื่อผู้ประกอบการที่จดทะเบียนพาณิชย์)
- Print หน้าแรกของเว็บไซต์ , สินค้า/บริการที่ประกอบพาณิชยกิจ และวิธีการสั่งซื้อสินค้า/บริการ วิธีการชำระเงิน วิธีการส่งสินค้า
- แผนที่ตั้งการประกอบพาณิชยกิจ
- หนังสือรับรองการจดทะเบียนของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท (กรณีจดในนามนิติบุคคล)
- หนังสือมอบอำนาจ พร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท และสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับมอบอำนาจ (กรณีมอบอำนาจ)
กรณีผู้ประกอบพาณิชยกิจมิได้เจ้าบ้าน
- หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ หรือ สัญญาเช่า
- สำเนาบัตรประชาชนเจ้าของสถานที่ พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน หรือ เอกสารสิทธิ์ที่แสดงว่าเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์
กรณีนิติบุคคลต่างประเทศ เข้ามาตั้งสาขาดำเนินกิจการในประเทศไทย ให้แนบเอกสารเพิ่มเติม ดังนี้
- สำเนาเอกสารแสดงการจดทะเบียนนิติบุคคล
- หนังสือแต่งตั้งผู้ดำเนินกิจการในประเทศไทย
- 2.1 ใบอนุญาตทำงาน (กรณีผู้ดำเนินกิจการเป็นคนต่างด้าว)
- 2.2 ใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว หรือหนังสือรับรองการใช้สิทธิ (ถ้ามี)
สถานที่ รับจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์
- สำนักงานแห่งใหญ่ของสถานประกอบการตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ ให้ยื่นที่ สำนักงานเขตที่สำนักงานใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่
- สำนักงานแห่งใหญ่ของสถานประกอบการตั้งอยู่ในต่างจังหวัด ให้ยื่นที่ สำนักงานทะเบียนพาณิชย์เมืองพัทยา เทศบาล หรือองค์การบริการส่วนตำบลที่สำนักงานใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่
- ถ้าสำนักงานแห่งใหญ่ของผู้ประกอบพาณิชยกิจตั้งอยู่ในต่างประเทศ และมาตั้งสำนักงานสาขาเพื่อประกอบพาณิชยกิจในประเทศไทย สำนักงานแห่งใหญ่ตั้งในเขตท้องที่รับผิดชอบของสำนักงานทะเบียนพาณิชย์ใดก็ให้จดทะเบียน ณ สำนักงานทะเบียนพาณิชย์ในเขตท้องที่นั้น
ข้อกำหนดการ รับจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ
- การยื่นคำขอจดทะเบียนพาณิชย์ 1 คำขอต่อ 1 เว็บไซต์ หรือ ร้านค้าออนไลน์
- ต้องมีร้านค้าออนไลน์แล้ว โดยมิใช่มีแต่ชื่อเว็บไซต์ หรือ ชื่อร้านค้า
- เป็นร้านค้าหรือประกอบพาณิชยกิจพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ 4 ประเภทตามที่กฎหมายกำหนด
- ไม่ใช่เว็บไซต์หรือสื่อออนไลน์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือให้ข้อมูลเท่านั้น โดยไม่สามารถซื้อขายผ่านทางเว็บไซต์หรือสื่อออนไลน์นั้น ๆ
- การซื้อขายสินค้า/บริการผ่านทางเว็บไซต์หรือ Social Media เช่น Facebook ที่เป็นการทำการค้าโดยปกติ ถือเป็นการซื้อขายผ่านทางอินเตอร์เน็ต ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ และนำเลขทะเบียนแสดงบนหน้าร้านค้าออนไลน์
- กรมฯ จะอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายรับรอง DBD Registered เฉพาะร้านค้าออนไลน์ที่เป็นเว็บไซต์และมีโดเมนเนมเป็นของตนเอง ไม่รวมสื่อออนไลน์อื่น
รับจดทะเบียนบริษัท ราคา 9,500 บาท
ราคารวม VAT7% ค่าบริการ และค่าธรรมเนียมต่างๆแล้ว
รับจดทะเบียนบริษัท ราคาพิเศษ 9,500 บาท *** (ราคารวม VAT7%) ไม่มีจ่ายเพิ่ม
หมายเหตุ
*** ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท
หากทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท ติดต่อพนักงานเพื่อสอบถามรายละเอียด
*********************
สิ่งที่ลูกค้าได้รับ
ฟรี จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ฟรี ออกแบบตรายางให้ 3 แบบ
ฟรี ตรายางหมึกในตัว 1 อัน
ฟรี เอกสารสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
ฟรี แบบฟอร์มเอกสารทางบัญชี
ฟรี นามบัตรสำหรับออกใบกำกับภาษี
ฟรี คอร์สอบรมผู้ประกอบการใหม่ (มูลค่า 5,900 บาท)
ใบสำคัญจดทะเบียนพาณิชย์
หนังสือรับรองบริษัท
รายละเอียดวัตถุประสงค์บริษัท
รายงานการประชุมตั้งบริษัท
หนังสือบริคณห์สนธิ (บอจ.2)
รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (บอจ.3)
สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5)
ออกแบบเว็บไซต์ องค์กร/หน่วยงาน ราคาพิเศษ 5,000 บาท
*** สิทธิพิเศษมากมาย โปรดติดต่อ Line@ : @chonlatee เพื่อรับข้อเสนอ หรือสอบถาม โทร : 083-622-5555
"เพราะเวลาคือสิ่งมีค่า งานจดทะเบียนบริษัท ให้เราดูแล"
คุ้มค่า สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง
ผลงานบางส่วน
"เพราะเวลาคือสิ่งมีค่า งานจดทะเบียนบริษัท ให้เราดูแล"
Q/A
คำถามที่พบบ่อย เมื่อตัดสินใจจะเปิดบริษัท
หลายคนคงจะมีคำถามประมาณนี้ วันนี้เราจะอธิบายและยกตัวอย่างเปรียบเทียบ ข้อดีข้อเสียของการจดทะเบียนนิติบุคคล (จดทะเบียนบริษัท)
ส่วนคำถามที่ว่า ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือเปล่า ตอบตรงนี้เลยครับ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000 บาท/ปี
จะต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ส่วนภาษีของธุรกิจขายของออนไลน์ จะมีวิธีคิดดังนี้ดังนี้
- ภาษีเงินได้ สำหรับบุคคลธรรมดา ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยจะคำนวณจากเงินได้สุทธิ แต่ถ้า จดทะเบียนบริษัท ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่คำนวณจากกำไรสุทธิแทน
***กรณีเงินได้ของคุณ ไม่เกิน 150,000 บาท/ปี ก็ยังไม่ต้องเสียภาษี แต่ต้องยื่นแบบแสดงภาษีไว้ก่อนครับ ส่วนการขายสินค้าออนไลน์นอกประเทศ เมื่อมีการโอนเงินเข้าบัญชีเรา ก็ถือว่าเป็นเงินได้ของเรา ต้องเสียภาษีเงินได้ตามปกติครับ
ส่วนคำถามที่ว่าขายของออนไลน์เล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นต้องจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หรือไม่
แต่จริง ๆ การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเรื่องจำเป็นสำหรับการขายของออนไลน์ เพราะหากเราละเลยหรือลืมจด
ถือว่ามีความผิดตาม พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ต้องจ่ายค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท และมีค่าปรับรายวันอีกวันละไม่เกิน 100 บาท
ขายสินค้าออนไลน์ควรจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลหรือไม่?
ปกติเจ้าของร้านออนไลน์ที่ไม่ได้ จดทะเบียนบริษัท ขายของในนามบุคคลธรรมดาไปได้เรื่อย ๆ ไม่ต้องจัดทำงบการเงิน การยื่นภาษีก็ไม่ต้องใช้เอกสารยุ่งยาก
เรียกว่ามีความคล่องตัวมากกว่าการเป็นนิติบุคคล แต่หากขายดี มียอดขายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็จะเริ่มมีข้อจำกัดต่าง ๆ ตามมา
เช่น เริ่มเสียภาษีในฐานที่สูงขึ้น เพราะบุคคลธรรมดาใช้อัตราภาษีแบบก้าวหน้าอยู่ที่ 5-35% โดยจะคำนวณจากรายได้ทั้งหมด ในขณะที่นิติบุคคลมีอัตราภาษีสูงสุดอยู่ที่ 20%
และคำนวณจากกำไรสุทธิ หรือข้อจำกัดด้านความน่าเชื่อถือในการสั่งซื้อสินค้าครั้งละมาก ๆ หรือต้องมีการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ
การจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลนั้นสามารถลดข้อจำกัดเหล่านี้ได้ เมื่อต้องการขยายกิจการให้โตขึ้น การศึกษาเรื่องการจัดตั้งนิติบุคคลจึงถือเป็นเรื่องสำคัญ
ด้วยความชำนาญ และประสบการณ์ ในงานด้านจดทะเบียนธุรกิจ กว่า 10 ปี มีลูกค้าไว้ใจให้เราดำเนินการจดทะเบียนบริษัท กว่า 1,000 ราย/ปี ลูกค้าที่จดทะเบียนบริษัทกับเรา จะได้รับคำแนะนำที่เป็นประโยชน์สูงสุด และเราจะพยายามรักษาสิทธิ์ต่างๆ ที่ลูกค้าพึงได้รับ เมื่อดำเนินการจดทะเบียน เพราะเราเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเริ่มต้นธุรกิจ และการดำเนินธุรกิจในระยะยาวให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืน ซึ่งคำแนะนำของเราล้วนเป็นเป็นประโยชน์ และช่วยเรื่องความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจ
- การจัดสรรผู้ถือหุ้นในบริษัท
- อำนาจของกรรมการ
- วัตถุประสงค์ที่ครอบคลุมธุรกิจในระยะยาว
- การตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์
สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงบางส่วนที่เราให้คำแนะนำลูกค้าของเรา
ให้มากกว่าที่คิด ด้วยคุณภาพของงานบริการ คำแนะนำต่างๆในการเริ่มต้นธุรกิจ หรือของแถมต่างๆ ที่เราจัดสรรให้ พร้อมสำหรับเริ่มต้นธุรกิจได้ทันที ครบ จบในที่เดียว
สิ่งที่ลูกค้าได้รับ
ฟรี จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ฟรี ออกแบบตรายางให้ 3 แบบ
ฟรี ตรายางหมึกในตัว 1 อัน
ฟรี เอกสารสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
ฟรี แบบฟอร์มเอกสารทางบัญชี
ฟรี นามบัตรสำหรับออกใบกำกับภาษี
ฟรี คอร์สอบรมผู้ประกอบการใหม่ (มูลค่า 5,900 บาท)
ใบสำคัญจดทะเบียนพาณิชย์
หนังสือรับรองบริษัท
รายละเอียดวัตถุประสงค์บริษัท
รายงานการประชุมตั้งบริษัท
หนังสือบริคณห์สนธิ (บอจ.2)
รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (บอจ.3)
สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5)
ออกแบบเว็บไซต์ องค์กร/หน่วยงาน ราคาพิเศษ 5,000 บาท
ข้อมูลที่ต้องใช้ในการ จดทะเบียนบริษัท
1. ชื่อของบริษัท (ตามที่ได้จองชื่อไว้)
2. ที่ตั้งสํานักงานแห่งใหญ่ / สาขา (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด) พร้อมเลขรหัสประจําบ้านของที่ตั้งสํานักงาน,
E-mail และหมายเลขโทรศัพท์ของบริษัทหรือกรรมการ
3. วัตถุที่ประสงค์ของบริษัทที่จะประกอบกิจการค่า *ดูหลักเกณฑ์การกําหนดวัตถุที่ประสงค์*
4. ทุนจดทะเบียน จะต้องแบ่งเป็นหุ้นๆ มีมูลค่าหุ้นเท่าๆ กัน (มูลค่าหุ้นจะต้องไม่ต่ํากว่า 5 บาท)
5. ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ และจํานวนหุ้นที่ผู้เริ่มก่อการจองซื้อไว้
6. ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ ของพยาน 2 คน
7. อากรแสตมป์ 200 บาท
8. ข้อบังคับ (ถ้ามี)
9. จํานวนทุน (ค่าหุ้น) ที่เรียกชําระแล้ว อย่างน้อยร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน
10. ชื่อ ที่อยู่ อายุของกรรมการ
11. รายชื่อหรือจํานวนกรรมการที่มีอํานาจลงชื่อแทนบริษัท (อํานาจกรรมการ) *ดูตัวอย่างการกําหนดอํานาจกรรมการ*
12. ชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมค่าตอบแทน
13. ชื่อ ที่อยู่ สัญชาติ และจํานวนหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน
14. ตราสําคัญ *ดูหลักเกณฑ์การกําหนดดวงตรา*
15. ที่ตั้งสํานักงานแห่งใหญ่สาขา
บริษัทจะไม่จดทะเบียนตราสําคัญของบริษัทก็ได้ หากว่าอํานาจกรรมการไม่ได้กําหนดให้ต้อง ประทับตราสําคัญด้วย
***หมายเหตุ
ลูกค้าสามารถแจ้งความประสงค์ได้ว่าจะให้เจ้าหน้าที่ของเรานำเอกสารไปให้เซ็นได้ที่ไหน และเจ้าหน้าที่ของเราพร้อมให้คำแนะนำ
ทางบริษัทเราไม่มีข้อผูกมัดว่าต้องให้เราดูแลบัญชีรายเดือน ท่านต้องการจดทะเบียนบริษัทอย่างเดียวก็สามารถทำได้ และเรายังมีการอบรมสำหรับผู้ประกอบการใหม่ เพื่อให้ท่านเตรียมพร้อมเป็นเจ้าของธุรกิจ โดยท่านสามารถขอเข้ารับการอบรม ก่อนจดทะเบียนบริษัท ซึ่งหากท่านไม่มีความประสงค์จะดำเนินการจดทะเบียนบริษัท เราก็ยินดีให้คำปรึกษาฟรี
สาระควรรู้ก่อนจดทะเบียนบริษัท
ข้อมูลสำคัญที่ควรวางแผนให้ดีก่อนจดทะเบียนบริษัทและหุ้นส่วนจำกัด
1. ชื่อบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ เพราะชื่อที่คิดจะต้องส่งมาจองก่อน ชื่อห้ามซ้ำกับนิติบุคคลที่มีอยู่ก่อนแล้ว คลิ๊กแอดไลน์เพื่อส่งข้อมูลมาจองชื่อ
2. ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนคือเงินของผู้ถือหุ้นทุกคนที่จะลงทุน เริ่มต้นทำธุรกิจ ส่วนใหญ่จะระบุไว้ที่ 1 ล้านบาท เพราะค่าธรรมเนียมไม่ว่าจะจดทะเบียน ทุน 1 แสน , 2 แสน หรือ
1 ล้าน ค่าธรรมเนียมจะเท่ากัน ที่จดกัน 1 ล้าน เพราะต้องการให้บริษัทดูดีมีความน่าเชื่อถือ และถ้าจดในรูปแบบบริษัทจะดีตรงที่ ถ้าเราระบุ ทุน 1 ล้าน บาท เราไม่จำเป็นต้องมีเงินถึง
1 ล้านจริงๆ ก็ได้ มีแค่ 25 % ก้อได้ และถ้าจะถามต่อไปอีกว่า ถ้าไม่มี 25 % หรือ 250,000 บาท จริงๆ จะดำเนินการจดบริษัทได้ไหม ก็ตอบว่าได้ครับ
ตรงนี้อาจโทรมาปรึกษาได้ คลิ๊กโทร
3. การแบ่งสัดส่วน หุ้น จะอธิบายแบบทั่ว ๆ ไป ที่ส่วนใหญ่ทำกัน คือการลงทุนด้วยเงินนะครับ
จด หจก. เริ่มต้นก่อตั้งใช้คน 2 คน ให้คิดเป็น % เช่น นาย ก. ถือ 70 % นาย ข. ถือ 30% รวมกัน 2 คน ให้ได้ 100 % ส่วนทาง บริษัท ชลธี บิสซิเนส จำกัด จะคำนวณจากทุนจดทะเบียนออกมาเป็นจำนวนเงินให้ครับ
จดบริษัท เริ่มต้น ก่อตั้งใช้ คน 3 คน ให้คิดออกมาเป็น % เช่น นาย ก. คือ 50 % นาย ข. คือ 30 % นาย ค. 20 % รวม 3 คน ได้ 100 % ส่วนทาง บริษัท ชลธี บิสซิเนส จำกัด จะมาแปลงเป็นจำนวนหุ้น และตีออกมาเป็นจำนวนเงินให้ครับ
สิ่งสำคัญ การจะแบ่งหุ้นให้ใครต้องคิดให้ดี ๆ นะครับ แบ่งให้แล้วเอาคืนมายาก ถ้าเกิดร่วมงานกันแล้วมีปัญหาภายหลัง ยกเว้นถ้าลงเงินกันจริงๆ ก็ต้องแบ่งไปตามสัดส่วนที่ลงทุนกันจริงๆ แต่ถ้าคิดจะให้ด้วย แค่เอาชื่อมาประกอบ บริษัท ชลธี บิสซิเนส จำกัด แนะนำ แบ่งให้แค่คนละ 1 % ก็พอครับ เพราะต่อไปเวลาเราจะไปทำเรื่องเปิดบัญชีเงินฝากที่ธนาคารในนามบริษัท จะได้ไม่วุ่นวายปวดหัว ที่จะต้องพาหุ้นส่วนไปเปิดบัญชีด้วย เพราะถ้าใครถือหุ้นตั้งแต่ 20 % จะต้องไปทำเรื่องเปิดบัญชีด้วย คงไม่สะดวกที่จะต้องลางานบ่อย ๆ
4. อำนาจกรรมการ
การเขียน อำนาจกรรมการส่วนใหญ่จะเขียน ดังนี้
1. ระบุชื่อกรรมการไปเลย
2. ถ้ามีกรรมการตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป
- กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญ
- กรรมการสองคนลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญ
- นาย ก. ลงลายมือชื่อ ร่วมกับ นาย ข. หรือ นาย ค. และประทับตราสำคัญ
สิ่งสำคัญ ใครที่ไม่มีอำนาจในการบริหารหรือตัดสินใจ ไม่ควรเอาชื่อมาใส่เป็นกรรมการ
5. การเขียนวัตถุประสงค์
ปรกติทางบริษัท ชลธี บิสซิเนส จำกัดจะมีวัตถุประสงค์ทั่วๆ ไป คือ แบบ ว.1 งานด้านค้าขาย และ แบบ ว.2
งานด้านบริการ ซึ่งรวมกันแล้วประมาณ 35 ข้อ ที่เหลือให้ทางลูกค้าระบุข้อที่เราทำเป็นงานหลัก ๆ โดยใส่ได้ไม่จำกัด แต่ข้อที่เราทำมากที่สุด
หลักๆให้ใส่มาเป็นอันดับที่ 1 และ 2 ข้อที่ทำน้อยหรือนานๆ จะทำให้ใส่เป็น ข้อ 3,4,5,6....ต่อไป เพราะเรื่องวัตถุประสงค์จะมีผลในเรื่องของงานจัดทำบัญชีและยื่นจดภาษีมูลค่าเพิ่มต่อไป
หมายเหตุ : สุดท้ายข้อมูลต่างๆ สำคัญทุกข้อทางบริษัท แนะนำว่าควรโทรมาคุยปรึกษาทีมงาน บริษัท ชลธี บิสซิเนส จำกัด จะดีที่สุด
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ออกแบบตรายาง 3 แบบ
ตรายางหมึกในตัว 1 อัน
เอกสารสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
แบบฟอร์มเอกสารทางบัญชี
นามบัตรสำหรับออกใบกำกับภาษี
คอร์สอบรมผู้ประกอบการใหม่(มูลค่า 5,900)
ขอรหัส E-Filling
ออกแบบเว็บไซต์ (ราคาเริ่มต้น 5,000)
ขอเครื่องหมาย DBD Registered
ไฟล์รูปแบบบิล / ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี ฯลฯ
ลงทะเบียน E-GP
ขอรหัสยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต(ภ.อ.01)
แผนที่บริษัท ใส่สีสวยงาม
โลโก้หัวบิล
เพจโปรไฟล์ Facebook,Line@
ลงโปรโมตโฆษณาในเว็บไซต์ในเครือ
ให้คำปรึกษาด้านบัญชี กฏหมายและภาษี
ให้คำปรึกษา แนะนำแหล่งเงินทุน การสร้างแบรนด์ การตลาดออนไลน์
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ออกแบบตรายาง 3 แบบ
ตรายางหมึกในตัว 1 อัน
เอกสารสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
แบบฟอร์มเอกสารทางบัญชี
นามบัตรสำหรับออกใบกำกับภาษี
คอร์สอบรมผู้ประกอบการใหม่(มูลค่า 5,900)
ขอรหัส E-Filling
ออกแบบเว็บไซต์ (ราคาเริ่มต้น 5,000)
ขอเครื่องหมาย DBD Registered
ไฟล์รูปแบบบิล / ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี ฯลฯ
ลงทะเบียน E-GP
ขอรหัสยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต(ภ.อ.01)
แผนที่บริษัท ใส่สีสวยงาม
โลโก้หัวบิล
เพจโปรไฟล์ Facebook,Line@
ลงโปรโมตโฆษณาในเว็บไซต์ในเครือ
ให้คำปรึกษาด้านบัญชี กฏหมายและภาษี
ให้คำปรึกษา แนะนำแหล่งเงินทุน การสร้างแบรนด์ การตลาดออนไลน์
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ออกแบบตรายาง 3 แบบ
ตรายางหมึกในตัว 1 อัน
เอกสารสำหรับเปิดบัญชีธนาคาร
แบบฟอร์มเอกสารทางบัญชี
นามบัตรสำหรับออกใบกำกับภาษี
คอร์สอบรมผู้ประกอบการใหม่(มูลค่า 5,900)
ขอรหัส E-Filling
ออกแบบเว็บไซต์ ฟรี
ขอเครื่องหมาย DBD Registered
ไฟล์รูปแบบบิล / ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี ฯลฯ
ลงทะเบียน E-GP
ขอรหัสยื่นภาษีทางอินเตอร์เน็ต(ภ.อ.01)
แผนที่บริษัท ใส่สีสวยงาม
โลโก้หัวบิล
เพจโปรไฟล์ Facebook,Line@
ลงโปรโมตโฆษณาในเว็บไซต์ในเครือ
ให้คำปรึกษาด้านบัญชี กฏหมายและภาษี
ให้คำปรึกษา แนะนำแหล่งเงินทุน การสร้างแบรนด์ การตลาดออนไลน์
เขตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร
ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตพระโขนง มีคลองบางอ้อ, ซอยสุขุมวิท 101/1 (วชิรธรรมสาธิต), ซอยวชิรธรรมสาธิต 32 (จุฬา 4), ซอยอุดมสุข 29 (พุทธวิถี 1) และถนนอุดมสุขเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตประเวศและอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีคลองเคล็ดและคลองบางนา (สาหร่าย) เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางพลี อำเภอเมืองสมุทรปราการ และอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ, ซอยลาซาล 8 แยก 6 (แบริ่ง 5), แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ, ซอยแบริ่ง 2 (สันติคาม), แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ, ซอยสุขุมวิท 70 (โปษยานนท์), ซอยจ่าโสด แยก 16 (โปษยานนท์), ซอยเชื่อมระหว่างซอยจ่าโสด แยก 16 กับซอยจ่าโสด แยก 14, ซอยจ่าโสด แยก 14 (เพี้ยนพิน 5), แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ และคลองวัดบางวัวเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติ
ท้องที่เขตบางนาในอดีตมีฐานะเป็น ตำบลบางนา เป็นเขตการปกครองหนึ่งของอำเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (เปลี่ยนชื่อมาจากนครเขื่อนขันธ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2457) จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2470 ทางราชการได้พิจารณาโอนตำบลบางนาไปขึ้นกับอำเภอสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการแทน เพื่อความสะดวกในการปกครอง แต่ในปี พ.ศ. 2472 ก็โอนกลับมาเป็นเขตการปกครองของอำเภอพระโขนง (ซึ่งได้ย้ายจากจังหวัดพระประแดงมาขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ก่อนแล้ว) อีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้กันมากกว่าและประชาชนไปติดต่อธุระราชการได้สะดวกกว่า
ต่อมาในท้องที่ตำบลบางนาเริ่มมีสภาพเป็นชุมชน ย่านการค้า อุตสาหกรรม และที่พักอาศัยหนาแน่นขึ้น ในการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2498 ทางราชการจึงโอนพื้นที่บางส่วนของตำบลบางนาเข้าไปในท้องที่ด้วย[5] ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเขตเทศบาลนั้นได้กลายเป็นท้องที่ในเขตสุขาภิบาลประเวศซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2506[6] จนกระทั่งมีการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพออกไปอีกเป็นครั้งที่ 3 เมื่อปี พ.ศ. 2507 จึงแยกไปรวมอยู่ในเขตเทศบาลทั้งตำบล
ในปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และในปี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ยกเลิกการปกครองแบบสุขาภิบาลและเทศบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงตามลำดับ ตำบลบางนาจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงบางนา ขึ้นกับเขตพระโขนง
ภายหลังในเขตพระโขนงและเขตอื่น ๆ ของกรุงเทพมหานครมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น จำเป็นต้องจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรในเขตต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมใกล้เคียงกัน เพื่อให้การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนง โดยแยกแขวงบางนาและบางส่วนของแขวงบางจากออกมาจัดตั้งเป็น เขตบางนา และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงบางนาเต็มพื้นที่เขตบางนาอย่างเป็นทางการ เพื่อความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541
จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางบอน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตทุ่งครุ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตทวีวัฒนา | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางนา | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตคลองสามวา | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตวังทองหลาง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตสะพานสูง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตคันนายาว | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตสายไหม | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตหลักสี่ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางแค | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตวัฒนา | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตลาดพร้าว | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตราชเทวี | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตดอนเมือง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตจอมทอง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตสวนหลวง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตคลองเตย | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตประเวศ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางคอแหลม | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตจตุจักร | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางซื่อ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตสาทร | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบึงกุ่ม | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตดินแดง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางพลัด | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตราษฎร์บูรณะ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตหนองแขม | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตภาษีเจริญ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางขุนเทียน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางกอกน้อย | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตตลิ่งชัน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตคลองสาน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตห้วยขวาง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางกอกใหญ่ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตธนบุรี | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตพญาไท | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตสัมพันธวงศ์ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตยานนาวา | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตลาดกระบัง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตมีนบุรี | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตดุสิต | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตหนองจอก | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางรัก | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางเขน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตบางกะปิ | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตปทุมวัน | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตพระโขนง | จดทะเบียนขายสินค้าออนไลน์เขตพระนคร